วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

รายงานการวิจัยชั้นเรียน ผลการพัฒนานักเรียนที่มีปัญหาการอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้ โดยใช้แบบฝึกการอ่านและเขียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนบำรุงวิทยา อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์



                                                                                                           ครูวิภาดา    ศรีสุข   รายงาน

1. ชื่อเรื่อง ผลการพัฒนานักเรียนที่มีปัญหาการอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้ โดยใช้แบบฝึกการอ่านและเขียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557

                2.  ผู้วิจัย นางวิภาดา ศรีสุข

3. สภาพการปฏิบัติงานและปัญหาการวิจัย
                      การดำเนินการโครงการพัฒนานักเรียนที่มีปัญหาการอ่านหนังสือไม่ออกและเขียนไม่ได้ ปีการศึกษา 2547 จัดทำขึ้นเพื่อให้โรงเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนานักเรียนที่มีปัญหาการอ่านหนังสือไม่ออกและเขียนไม่ได้ของโรงเรียนบำรุงวิทยา อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์  ปีการศึกษา 2547  โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะขจัดปัญหานักเรียนที่อ่านหนังสือไม่ออกโดยเฉพาะนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่  6 จะต้องอ่านหนังสือออกและเขียนได้  100 ภายในเดือนกุมภาพันธ์  พุทธศักราช 2558 ก่อนที่จะให้จบการศึกษา
                จากการสำรวจผลการเรียนของนักเรียนที่ผ่านมา พบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ซึ่งน่าจะมีสาเหตุหนึ่งมาจากการอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้ของนักเรียน โรงเรียนจึงได้ทำการสำรวจคัดกรองนักเรียนที่อ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ซึ่งพบว่า โดยรวมนักเรียนอ่านไม่ออกร้อยละ 43.11 ส่วนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1  จำนวนนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ก่อนเข้าร่วมโครงการมีดังนี้ ระดับ 1  จำนวน  คนคิดเป็นร้อยละ 7.5  ระดับ 2 จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.00 และระดับ 3 จำนวน 13 คนคิดเป็นร้อยละ 32.5 ตามลำดับ จากปัญหาและสาเหตุดังกล่าว โรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการพัฒนานักเรียนที่มีปัญหาการอ่านหนังสือไม่ออกและเขียนไม่ได้ขึ้น โดยใช้แบบฝึกการอ่านและเขียนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา บุรีรัมย์ เขต 1

4.คำถามการวิจัย
                     การใช้แบบฝึกการอ่านและเขียนส่งผลต่อการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนหรือไม่ อย่างไร

5.วัตถุประสงค์
         เพื่อศึกษาผลการใช้แบบฝึกการอ่านและเขียนที่มีต่อการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนโรงเรียนบำรุงวิทยา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557

6.ประโยชน์ที่จะได้รับ
                                1)  นักเรียนอ่านได้ร้อยละ 71% ขึ้นไป 
                                2)  ครูได้แบบฝึกการอ่านและการเขียนที่มีประสิทธิภาพ

                7.วิธีดำเนินการวิจัย
การวางแผน
1) เป้าหมาย ทดลองใช้แบบฝึกการอ่านและเขียนเป็นเวลา 1 ภาคเรียน
2) กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนบำรุงวิทยาจำนวน40 คน
3) กิจกรรม/การปฏิบัติ




                   การจัดหาสื่อ/นวัตกรรม  มาใช้พัฒนานักเรียนแต่ละกลุ่มที่คัดแยกตามระดับสภาพปัญหาการอ่านของนักเรียนนั้น  โรงเรียนบำรุงวิทยาเปิดโอกาสครูและผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถผลิตสื่อ/นวัตกรรมมาใช้พัฒนานักเรียนแต่ละกลุ่มได้อย่างหลากหลาย  และได้จัดทำสื่อ/นวัตกรรมพัฒนานักเรียนที่อ่านหนังสือไม่ออกและเขียนไม่ได้ไว้ สำหรับครูที่ไม่ได้จัดทำสื่อ/นวัตกรรมดังกล่าว ก็สามารถนำไปใช้สอนหรือพัฒนานักเรียนกลุ่มเป้าหมายของโรงเรียนได้ 
                โรงเรียนบำรุงวิทยาได้จัดทำสื่อ/นวัตกรรมสำหรับพัฒนานักเรียนที่มีปัญหาการอ่านหนังสือไม่ออกและเขียนไม่ได้  ตามระดับสภาพปัญหาการอ่านของนักเรียนโดยยึดหลักการสอนจากง่ายไปหายาก  5 ขั้นตอน คือ
                ขั้นตอนที่ อ่านเขียนพยัญชนะและสระให้ถูก
                                ขั้นตอนที่  นำพยัญชนะและสระมาผูกให้เป็นคำ
                                ขั้นตอนที่  สอนการสะกดคำและแจกลูก
                                ขั้นตอนที่  สอนการผันเสียงให้ถูกตามวรรณยุกต์
                                ขั้นตอนที่  เรียนให้สนุกด้วยคำยากช่วยเสริม
            จากกระบวนการเรียนรู้ดังกล่าว  ได้นำมาจัดทำเป็นชุดการสอน สำหรับใช้สอนนักเรียนที่มีปัญหาการอ่านหนังสือไม่ออกและเขียนไม่ได้  ชุด คือ
1. ชุดแบบฝึกการอ่านและสะกดคำพื้นฐาน  ประกอบด้วย แบบฝึกการอ่านและเขียนสะกดคำพื้นฐาน
แบบฝึกหัดการอ่านและเขียนสะกดคำพื้นฐาน  และแผนการสอนโดยใช้แบบฝึกการอ่านและเขียนสะกดคำพื้นฐาน มีขั้นตอนการสอน ดังนี้
                     ขั้นที่ 1   ทบทวนการอ่านพยัญชนะ สระ การแบ่งพยัญชนะไทยออกเป็น 3 หมู่ คือ อักษรกลาง  อักษรสูง และอักษรต่ำ เพื่อให้นักเรียนจดจำให้ได้ก่อนนำไปสู่การสอนอ่านประสมคำ  การอ่านสะกดคำ และการผันวรรณยุกต์
                        ขั้นที่ 2  สอนให้นักเรียนรู้จักอ่านประสมคำ ระหว่างพยัญชนะไทย  44 ตัว  และสระไทย 32 เสียง
                      ขั้นที่ 3  สอนให้นักเรียนอ่านสะกดคำพื้นฐาน ที่สะกดคำตรงตามมาตราตัวสะกดของไทย คือ แม่กก แม่กง แม่กด แม่กบ  แม่กน แม่กม แม่เกย และ แม่เกอว
2.  ชุดแบบฝึกการอ่านและผันวรรณยุกต์  ประกอบด้วย แบบฝึกการอ่านและผันวรรณยุกต์อักษรกลาง 
แบบฝึกการอ่านและผันวรรณยุกต์อักษรสูง  และแบบฝึกการอ่านและผันวรรณยุกต์อักษรต่ำ
3. ชุดแบบฝึกการอ่านและเขียนคำยาก ประกอบด้วย การอ่านและเขียนคำที่สะกดไม่ตรงตามตัวสะกด
การอ่านและเขียนคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ การอ่านและเขียนคำที่มีตัวการันต์ การอ่านและเขียนคำที่มีอักษรนำ การอ่านและเขียนคำควบกล้ำ  ฯลฯ                                                                                     

การปฏิบัติ ลงมือสอนตามแนวทางการพัฒนาที่กำหนดไว้ในเดือนมิถุนายน ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2557


สังเกตการสอน
1. เครื่องมือวิจัย ได้แก่
1.1 แบบสอบถามคุณภาพการปฏิบัติงานโครงการนักเรียนอ่านหนังสือไม่ออกและเขียนไม่ได้1.2 แบบทดสอบ สำหรับคัดแยกนักเรียนออกเป็นกลุ่มตามระดับสภาพปัญหาการอ่านหนังสือไม่ออกและเขียนไม่ได้                                                       
1.3 แบบฝึกหัดการอ่านและสะกดคำพื้นฐาน แบบฝึกหัดการอ่านและผันวรรณยุกต์ แบบฝึกหัดการอ่านและเขียนคำยาก

2. การรวบรวมข้อมูล
รวบรวมข้อมูลหลังจากมีการสอนเรียบร้อยแล้ว

3. การวิเคราะห์ข้อมูล
3.1 แบบสอบถาม วิเคราะห์โดยหาค่าร้อยละ
3.2 แบบทดสอบ วิเคราะห์โดยหาค่าร้อยละ
3.3 แบบฝึกหัด วิเคราะห์โดยหาค่าร้อยละ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
1.              ข้อมูลนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 ที่อ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้ก่อนเข้าร่วมโครงการ

ตาราง 1  แสดงข้อมูลนักเรียนที่อ่านไม่ออกก่อนเข้าร่วมโครงการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1โรงเรียนบำรุงวิทยา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557

สรุปข้อมูลนักเรียนที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
ก่อนเข้าร่วมโครงการ
ที่
ชื่อ-สกุล
สภาพปัญหา
หมายเหตุ
ระดับ 1
ระดับ 2
ระดับ 3
1
เด็กชายสิรวิชญ์           ตันติยศุภวงศ์


2
เด็กชายคหบดี             แกล้วกล้า



3
เด็กชายคุณานนต์        สังข์ทองรัมย์ 



4
เด็กชายจักรตรีภพ       จันทร์สว่าง




5
เด็กชายชยณัฐ              เนตรครุฑา



6
เด็กชายชานน              จันทร์จำเริญ




7
เด็กชายฐิติโชติ            เลิศวรพณิชย์




8
เด็กชายธเนศพล          พะเนา




9
เด็กชายธาดากร            จันละมุลมา



10
เด็กชายธีรเดช              เพ็งปอภาร



11
เด็กชายธีรพงศ์             มาแดง



12
เด็กชายพงศกร             กุสูงเนิน



13
เด็กชายพลกฤต            สมุทรรัตนากร




14
เด็กชายรัญชน์              ติ่งหมาย




15
เด็กชายสิรภัทร            นามแก้ว




16
เด็กชายสิรวิชญ์            รุ่งจิวารักษ์




17
เด็กชายสุภากร             ผุยรอด



18
เด็กหญิงกชกร             สุวรรณมงคล



19
เด็กหญิงกนกวลี          จันศรี




20
เด็กหญิงกมลลักษณ์    กรองมะเริง




21
เด็กหญิงจิรภา             ชะโลรัมย์



22
เด็กหญิงเจษฎาภรณ์   จันทร์ทะเมนชัย




23
เด็กหญิงโชติกา          ปักโคทานัง




24
เด็กหญิงณชา              ต่อโชติ




25
เด็กหญิงณัฐณิชา         ดาบส




26
เด็กหญิงนริสรา           นันกลาง




27
เด็กหญิงนันทิกานต์     วาราณุรักษ์




28
เด็กหญิงพนิดา             ทูลฉลอง




29
เด็กหญิงพัชรา             พันธุ์นาม



30
เด็กหญิงพัทธนันท์      หนันทุม




31
เด็กหญิงมนัสขวัญ       โพธิ์กัน



32
เด็กหญิงศศิธร              พันลำ



33
เด็กชายธัญพิสิษฐ์         แผ้วพลสง




34
เด็กหญิงธัญภัค             สุรัติเจริญสุข




35
เด็กหญิงวิรัลพัชร          มหรรฆสุวรรณ




36
เด็กหญิงรติมา               เสาร์อวน



37
เด็กหญิงกมลลักษณ์      พันธุ์ภูมิ




38
เด็กหญิงวชิรญาณ์          ติยะไทธาดา




39
เด็กชายฉันทวัฒน์          ศานอก



40
เด็กหญิงวรฤทัย             พาบุตรี




รวม
3

13

ร้อยละ
7.5

32.5









จากตาราง 1  จำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาการอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนบำรุงวิทยา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 พบว่า นักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ก่อนเข้าร่วมโครงการมีดังนี้ ระดับ 1  จำนวน  คนคิดเป็นร้อยละ 7.5  ระดับ 2 จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.00 และระดับ 3 จำนวน 13 คนคิดเป็นร้อยละ 32.5 ตามลำดับ


ตาราง 2 แสดงคุณภาพการปฏิบัติงานโครงการนักเรียนอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้ ครั้งที่ 1



ชื่อ-สกุล
ระดับความสำเร็จการเรียนการสอน ครั้งที่ 1

หมายเหตุ
ที่
ไม่ประสบผลสำเร็จ
ประสบผลสำเร็จน้อย
ประสบผล
สำเร็จ
ปานกลาง
ประสบผล
สำเร็จมาก
1
เด็กชายสิรวิชญ์           ตันติยศุภวงศ์
                                         

2
เด็กชายคหบดี             แกล้วกล้า




3
เด็กชายคุณานนต์        สังข์ทองรัมย์ 




4
เด็กชายชยณัฐ              เนตรครุฑา




5
เด็กชายธาดากร            จันละมุลมา




6
เด็กชายธีรเดช              เพ็งปอภาร




7
เด็กชายธีรพงศ์             มาแดง




8
เด็กชายพงศกร             กุสูงเนิน




9
เด็กชายสุภากร             ผุยรอด




10
เด็กหญิงกชกร             สุวรรณมงคล




11
เด็กหญิงจิรภา             ชะโลรัมย์




12
เด็กหญิงพัชรา             พันธุ์นาม




13
เด็กหญิงมนัสขวัญ       โพธิ์กัน




14
เด็กหญิงศศิธร              พันลำ




15
เด็กหญิงรติมา               เสาร์อวน




16
เด็กชายฉันทวัฒน์          ศานอก




  
                จากตาราง 2 คุณภาพการปฏิบัติงานโครงการนักเรียนอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้ ครั้งที่ 1 พบว่า นักเรียนประสบผลสำเร็จจากการใช้แบบฝึกการอ่านและเขียนในระดับมาก  เป็นจำนวน คน คิดเป็นร้อยละ 18.75


ตาราง 3 แสดงคุณภาพการปฏิบัติงานโครงการนักเรียนอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้ ครั้งที่ 2



ชื่อ-สกุล
ระดับความสำเร็จการเรียนการสอน ครั้งที่ 2

หมายเหตุ
ที่
ไม่ประสบผลสำเร็จ
ประสบผลสำเร็จน้อย
ประสบผล
สำเร็จ
ปานกลาง
ประสบผล
สำเร็จมาก
1
เด็กชายสิรวิชญ์           ตันติยศุภวงศ์
                                         
2
เด็กชายคหบดี             แกล้วกล้า




3
เด็กชายคุณานนต์        สังข์ทองรัมย์ 




4
เด็กชายชยณัฐ              เนตรครุฑา




5
เด็กชายธาดากร            จันละมุลมา




6
เด็กชายธีรเดช              เพ็งปอภาร




7
เด็กชายธีรพงศ์             มาแดง




8
เด็กชายพงศกร             กุสูงเนิน




9
เด็กชายสุภากร             ผุยรอด




10
เด็กหญิงกชกร             สุวรรณมงคล




11
เด็กหญิงจิรภา             ชะโลรัมย์




12
เด็กหญิงพัชรา             พันธุ์นาม




13
เด็กหญิงมนัสขวัญ       โพธิ์กัน




14
เด็กหญิงศศิธร              พันลำ




15
เด็กหญิงรติมา               เสาร์อวน




16
เด็กชายฉันทวัฒน์          ศานอก




  
                จากตาราง 3 คุณภาพการปฏิบัติงานโครงการนักเรียนอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้ ครั้งที่ 2 พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ประสบผลสำเร็จจากการใช้แบบฝึกการอ่านและเขียนในระดบมากมาก เป็นจำนวน คน คิดเป็นร้อยละ 50


ตาราง 4  แสดงการเปรียบเทียบนักเรียนที่อ่านไม่ออกก่อนเข้าร่วมโครงการและหลังเข้าร่วมโครงการชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557

สรุปข้อมูลนักเรียนที่อ่านหนังสือไม่ออกเขียนไม่ได้ ก่อนเข้าร่วมโครงการและหลังเข้าโครงการ
ที่

ชื่อ-สกุล
ก่อนเข้าร่วมโครงการ
(อ่านไม่ออก)
หลังเข้าร่วมโครงการ
(อ่านออก)
หมายเหตุ
1
เด็กชายสิรวิชญ์           ตันติยศุภวงศ์

2
เด็กชายคหบดี             แกล้วกล้า


3
เด็กชายคุณานนต์        สังข์ทองรัมย์ 


4
เด็กชายจักรตรีภพ       จันทร์สว่าง


5
เด็กชายชยณัฐ              เนตรครุฑา


6
เด็กชายชานน              จันทร์จำเริญ


7
เด็กชายฐิติโชติ            เลิศวรพณิชย์


8
เด็กชายธเนศพล          พะเนา


9
เด็กชายธาดากร            จันละมุลมา


10
เด็กชายธีรเดช              เพ็งปอภาร


11
เด็กชายธีรพงศ์             มาแดง


12
เด็กชายพงศกร             กุสูงเนิน


13
เด็กชายพลกฤต            สมุทรรัตนากร


14
เด็กชายรัญชน์              ติ่งหมาย


15
เด็กชายสิรภัทร            นามแก้ว


16
เด็กชายสิรวิชญ์            รุ่งจิวารักษ์


17
เด็กชายสุภากร             ผุยรอด


18
เด็กหญิงกชกร             สุวรรณมงคล


19
เด็กหญิงกนกวลี          จันศรี


20
เด็กหญิงกมลลักษณ์    กรองมะเริง


21
เด็กหญิงจิรภา             ชะโลรัมย์


22
เด็กหญิงเจษฎาภรณ์   จันทร์ทะเมนชัย


23
เด็กหญิงโชติกา          ปักโคทานัง


24
เด็กหญิงณชา              ต่อโชติ


25
เด็กหญิงณัฐณิชา         ดาบส


26
เด็กหญิงนริสรา           นันกลาง


27
เด็กหญิงนันทิกานต์     วาราณุรักษ์


28
เด็กหญิงพนิดา             ทูลฉลอง


29
เด็กหญิงพัชรา             พันธุ์นาม


30
เด็กหญิงพัทธนันท์      หนันทุม


31
เด็กหญิงมนัสขวัญ       โพธิ์กัน


32
เด็กหญิงศศิธร              พันลำ


33
เด็กชายธัญพิสิษฐ์         แผ้วพลสง


34
เด็กหญิงธัญภัค             สุรัติเจริญสุข


35
เด็กหญิงวิรัลพัชร          มหรรฆสุวรรณ


36
เด็กหญิงรติมา               เสาร์อวน


37
เด็กหญิงกมลลักษณ์      พันธุ์ภูมิ


38
เด็กหญิงวชิรญาณ์          ติยะไทธาดา


39
เด็กชายฉันทวัฒน์          ศานอก


40
เด็กหญิงวรฤทัย             พาบุตรี


รวม
2
38

ร้อยละ
5
95


               
             จากตาราง 4  ผลการเปรียบเทียบจำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาการอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้    ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 พบว่า ในจำนวนนักเรียน 40 คน มีนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ก่อนเข้าร่วมโครงการมีจำนวน 16 คนคิดเป็นร้อยละ 40 หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ   ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่ามีนักเรียนที่อ่านออกเขียนได้เพิ่มขึ้นจากเดิม 14 คนคิดเป็นร้อยละ 87.50

2. สัมฤทธิ์ผลของโครงการ
    โดยรวมนักเรียนอ่านออกเขียนได้มากกว่าร้อยละ 71 ส่วนนักเรียนที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้หลังการพัฒนามีนักเรียนอ่านออกเขียนได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 87.50


สรุปผล
นักเรียนส่วนใหญ่ที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาการอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้ประสบผลสำเร็จมากจากการใช้แบบฝึกการอ่านและเขียน โดยนักเรียนสามารถอ่านออกเขียนได้มากขึ้น ร้อยละ 87.50 โดยในภาพรวมนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 อ่านออกเขียนได้เกินกว่าร้อยละ 71 ยังเหลือนักเรียนที่ยังต้องพัฒนาการอ่านออกเขียนไม่ได้อีกจำนวน คน คิดเป็นร้อยละ 5  ซึ่งจะดำเนินการพัฒนาให้อ่านออกเขียนได้ครบร้อยละ 100 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557

สะท้อนผล
 นักเรียนยังจำ ก ฮ และสระ ไม่ได้ ทำให้เรียนรู้ได้ช้า
 นักเรียนแยกไตรยางศ์ หรืออักษร 3 หมู่ยังไม่ได้
 มีเวลาสอนน้อย
 เมื่อนักเรียนอ่านสะกดคำ มักจะออกเสียงตัวสะกดผิด
 เด็กมีสมาธิสั้น
 เด็กพิเศษ

ข้อเสนอแนะ
ควรปรับปรุงรูปแบบของแบบฝึกหัด เป็นรูปเล่มที่มีความคงทนถาวร



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น